ความต้องการเบื้องต้น
เนื่องจากลูกค้ามีความต้องการทำห้องน้ำ บนพื้นวงกลมและมีการแบ่งพื้นที่การใช้งานที่ต้องการไว้ระดับหนึ่ง ทำให้มีความชัดเจนด้านฟังค์ชั่น และเนื่องจากพื้นที่เป็นวงกลมและลูกค้าต้องการรูปทรงที่มีความเป็นนวัตกรรมและธรรมชาติ
แนวคิดการออกแบบ
เลียนแบบจากโครงสร้างของหอยแอมโมไนต์ โดยดึงเอาเส้นโค้งที่เป็นลอนของเปลือกหอยมาใช้ออกแบบเปลือกของอาคาร โดยที่ตัวอาคารหลักใช้โครงสร้างเป็นโดมครึ่งวงกลมเป็นโครงหลัก โดย โครงสร้างจะเป็นเหล็กหุ้มด้วยไผ่ลำเล็ก เพื่อลดเวลาในการดัดไผ่ และเพื่มความแข็งแรงของโครงสร้าง
ลักษณะเด่นของโครงสร้าง
การใช้โครงสร้างที่รับแรง 3 จุด การใช้อะเส โครงสร้างหลังคาในหน้าที่เดียวกับเสาที่โค้งจากตอม่อทางซ้าย 2 จุดไปรวมที่ ตอม่อทางขาวจุดเดียวโดยการทำช่อเสาไผ่มารับ ทำให้รูปทรงระหว่างตอม่อ สามารถทำเป็นโค้งเพราะมีการใช้ไผ่ลำเล็กรวบลำ และการใช้แนวแบบหลังคาไผ่ 2 ลำรวบ สอนทับกัน 2 แนวเป็นกริดทำให้อาคารที่โครงสร้างที่เหมือนเครื่องจักสาน ช่วยรับแรง และการใช้หลังคาไผ่เพื่อให้หลังคามีความสวยงาม และสามารถเข้ากับรูปทรงของโครงสร้างได้
รูปแบบโครงสร้างที่อยากนำเสนอ
Basic Requirements
The client wishes to construct a bathroom on a circular base and has already defined certain functional zoning requirements. This results in a clear functional layout. Due to the circular nature of the space and the client’s desire for a design that feels both innovative and natural, the architectural form is influenced accordingly.
Design Concept
The design is inspired by the structure of the ammonite shell, adopting the spiral curves of the shell to shape the outer skin of the building. The main structure is a hemispherical dome, serving as the core framework. The structure will be built using a steel frame wrapped with small bamboo culms to reduce the time required for bending bamboo while also enhancing structural strength.
Key Structural Features
The design uses a three-point load-bearing system. The rafters and structural elements of the roof function as inclined columns, arching from two footings on the left and converging at a single footing on the right. These are supported by a cluster of bundled bamboo columns. This configuration allows for curved forms between the footings by using bundled small bamboo culms. The roof uses a two-layered grid system, in which paired bamboo elements overlap to form a woven-like pattern, contributing both aesthetic value and structural support. The bamboo roofing complements the organic form of the structure.
Structural Approaches Proposed
Using a three-point footing system to support the structure
Utilizing bundled small bamboo culms as both rafters and structural columns, with each rafter pre-bent to a unique curvature before installation
Implementing a grid system for purlins and rafters
Using bamboo cladding techniques such as split-bamboo ceiling panels (fa sab fak) and overlapping split-bamboo roofing (sab fak)